วันอาทิตย์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2557

บทความวิทยาศาสตร์



บทความ เรื่อง “หลักสูตรวิทยาศาสตร์ปฐมวัยมีความจำเป็นหรือไม่”

                  หลักสูตรวิทยาศาสตร์ปฐมวัย เป็นการส่งเสริมครูปฐมวัยให้สามารถจัดประสบการณ์ในรูปของ
กิจกรรมบูรณาการที่สามารถช่วยส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยได้อย่างครบถ้วนทุกด้าน โดยไม่จำเป็นต้อง แยกออกมาสอนเป็นวิชาวิทยาศาสตร์ เพียงแต่ครูปฐมวัยควรจะตระหนักรู้ว่ากิจกรรมที่จัดให้กับเด็กในแต่ละช่วงเวลานั้น เป็นการส่งเสริมทักษะและแนวคิดทางวิทยาศาสตร์อะไรให้กับเด็กๆ และควรจะจัดกิจกรรมอย่างไรเพื่อจะสามารถตอบสนองและต่อยอดธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างเป็นระบบ
          “ทุกประเทศในโลกจะสอนปฐมวัยในเชิงบูรณาการ ก็คือจะบูรณาการทุกวิชาไว้ด้วยกัน เพราะถือว่าเด็กจะต้องพัฒนาเป็นองค์รวม แต่การที่ครูจะจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการพัฒนาเด็กเป็นองค์รวมนั้น จะต้องมีมาตรฐานเป็นที่ตั้งในของแต่ละสาระ เช่น คณิตศาสตร์ควรจะเรียนแค่ไหน วิทยาศาสตร์ควรจะเรียนแค่ไหน ครูก็จะยึดเอากรอบมาตรฐานมาจัดทำเป็นหลักสูตรบูรณาการปฐมวัยของตัวเอง ทุกประเทศจะเป็นแบบนี้ รวมทั้งประเทศเราด้วย” อ. ชุติมากล่าวทิ้งท้าย
 
ข้อมูลเพิ่มเติม Click

วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5


บันทึกอนุทินครั้งที่ 5
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  18 กันยายน  2557
เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
เวลาเข้าสอน08.30น.  เวลาเข้าเรียน 08.30น.  เวลาเลิกเรียน 12.20น.

            ความรู้ที่ได้รับในการเรียน

                           ก่อนเข้าสู่การเรียน อาจารย์เอาภาพ 1 ภาพมาให้ดูและบอกว่าวาดรูปที่สอดคล้องกันไว้ที่ระดับเดียวกัน  และดิฉันก็ได้วาดรูป ด้านหนึ่งเป็นกระต่าย อีกด้านเป็นแครอท 

สื่อหมุนๆรวมภาพ
            อุปกรณ์ในการทำ 
  1. กระดาษทรงสี่เหลื่อมผืนผ้า
  2. กรรไกร (Scissors)
  3. เทปกาว (
    Tape
    )
  4. ไม้เสียบลูกชิ้น
  5. ดินสอ (pencil)
  6. สี (
    color
    )
วิธีการทำ



  1. ตัดกระดาษเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยตัดเป็น 1 ส่วน 4 ของกระดาษ A4
  2. พับครึ่งกระดาษเพื่อที่จะได้วาดรูป 
  3. วาดภาพที่สัมพันธ์กันลงไปทั้งสองด้านของกระดาษ
  4. ใช้ไม้เสียบลูกชิ้นไว้ที่กึ่งกลางกระดาษแล้วเอาเทปกาวแปะให้แน่น จากนั้นก็นำเทปกาวมาแปะตรงมุมขอบกระดาษเพื่อที่จะได้ไม่หลุดเวลาหมุน

สรุปจากการทำสื่อหมุนๆรวมภาพ
              เมื่อทำสื่อชิ้นนี้เสร็จเรียนร้อยดิฉันก็ได้สังเกตุทั้งสองด้าน และได้ลองหมุนดูผลปรากฎว่าภาพทับซ้อนกันซึ่งแตกต่างจากของเพื่อนที่เป็นเหมือนรูปเดียวกันเวลาหมุนไม้ จากภาพจะเห็นได้ว่าการวาดรูปอยู่กึ่งกลางกระดาษพอดี และรูปภาพมีขนาดใหญ่ใกล้เคียงกัน 
              จากกิจกรรมทำให้ดิฉันได้เกิดการเรียนรู้จากการลองผิดลองถูก  จากการสอบถามเพื่อนบางคนที่สามารถทำสื่อชิ้นี้ออกมาได้สวยงามเพราะว่าเพื่อนมีประสบการณ์เดิมก่อนอยู่แล้วและบางคนได้ได้ทักษะการสังเกตุจากต้นชั่วโมงที่อาจารย์ยกมาให้ดูเป็นตัวอย่าง

ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำสื่อหมุนๆรวมภาพ
  1. เกิดการเรียนรู้จากการทำไม่ถูกต้อง
  2. การที่จะทำสื่อวิทยาศาสตร์ต้องมีทักษะช่างสังเกตุมากกว่านี้และต้องคิดละเอียดรอบครอบ
  3. สามารถนำไปใช้ในการสอนวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยได้
  4. สามารถนำไปประยุกต์กับวิชาอื่นๆ
บทความวิทยาศาสตร์

1. เรื่อง เด็กๆอนุบาลสนุกกับ "สะเต็มศึกษา" ผ่านโครงงานปฐมวัย 
- สะเต็มคือ การสอนแบบบูรณาการ 4 วิชา คือ วิชาวิทยาศาสตร์,วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ,วิชาวิศวะกรรมศาสตร์,วิชาคณิตศาสตร์
ข้อมูลเพื่มเติม Click

2. เรื่อง โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร
- เพื่อให้เด้กตระหนักในเรื่อง ดิน น้ำ ลม ไฟ
- ให้เด็กสืบแสวงหาเรื่องสิ่งแวดล้อม และเพื่อให้เด็กรู้ว่าตนเองมีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อม
- ประโยชน์ที่เด็กได้รับ
            - เด็กได้ค้นหาความรู้ด้วยตนเอง
            - ตระหนักถึงการใช้ทรัพยากร
            - เด็กได้รับแรงบรรดาลใจ (Inspiration)
ข้อมูลเพื่มเติม  Click

3. เรื่อง บ้านฉันเป็นค่ายวิทยาศาสตร์
- ผู้ใหญ่ควรจัดบ้านตัวเองให้เป็นวิทยาศาสตร์ เพื่อส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ด้วยตนเองเพราะเด็กมีความอยากรู้อยากเห็น
- คนไทยมักส่งลูกไปเรียนพิเศษมากกว่าการพาลูกไปทัศนะศึกษา
ข้อมูลเพื่มเติม  Click

ความลับของแสง(The Secret of Light)


สรุปการดูวีดีโอเรื่อง ความลับของแสง



ข้อมูลเพิ่มเติม Click


เทคนิควิธีการสอนของอาจารย์

  1. ให้ทำสิ่งประดิษฐ์โดยการให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองและเกิดการค้นพบ
  2. การใช้คำถามแบบปลายเปิด
  3. ใช้คำถามอยู่เสมอเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาเกิดกระบวนการคิด
การประเมินผล (Evaluation)
ประเมินตนเอง (Self)
- แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจฟังอาจารย์สอน มีการจดบันทึกระหว่างเรียนและตอบคำถามกับอาจารย์อยู่เสมอ
ประเมินเพื่อน
- เพื่อนมาเรียนตรงเวลาขณะอาจารย์สอนก็ตั้งใจฟังและตอบคำถามอาจารย์เสมอ
ประเมินอาจารย์
- อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา และมีกิจกรรมการทำสื่อวิทยาศาสตร์ที่แปลกใหม่มาให้ทำ และหลังจากเพื่อนนำเสนอบทความเสร็จอาจารย์ก็ได้ให้คำชี้แนะและสรุปความรู้เพื่อให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น
คำศัพท์ทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  Scientific process skills
การสังเกต observe

จัดกลุ่ม  classify
สรุป Infer
การคาดการณ์ Predict
การวัด Measure
การยืดออก extension

พจนานุกรมศัพท์วิทยาศาสตร์  Click

วันพุธที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4


บันทึกอนุทินครั้งที่ 4
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  11 กันยายน  2557
เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
เวลาเข้าสอน08.30น.  เวลาเข้าเรียน 08.30น.  เวลาเลิกเรียน 12.20น.

      
      จากความรู้ที่ได้รับในวันนี้สามารถนำมาเขียนเป็น Mind map ได้ดังนี้



การนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้

  1. ใช้ในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ให้เหมาะกับเด็ก
  2. เพื่อเป็นแนวทางในการเขียนแผนการศึกษาเรื่องเกี่ยวกัยวิทยาศาสตร์

การประเมิณการเรียนการสอน
                     
                           
                      ประเมิณตนเอง 

                                ขณะเรียนมีการจดบันทึกและโต้ตอบกับอาจารย์เสมอ มีสมาธิในการเรียนจนจบชั่วโมง  มาเรียนก่อนเวลา 08.30 น. 

                    
                      ประเมินเพื่อน 

                                วันนี้มีเพื่อนออกมานำเสนอบทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เพื่อนได้เตรียมตัวนำเสนอมาดีแต่อาจจะมีจุดบกพร่อมในการพูดบ้างนิดหน่อย แต่อาจารย์และเพื่อนก็ได้บอกถึงจุดบกพร่องนั้นเพื่อที่จะให้เพื่อนนำไปปรับปรุงแก้ไขเพื่อที่จะพัฒนาตนเองให้ดียิ่งขึ้นสำหรับการนำเสนอในครั้งต่อไป

                    ประเมินอาจารย์

                                อาจารย์เข้าเรียนตรงเวลา และขณะที่เพื่อนนำเสนอจบก็ได้แนะนำเทคนิคการนำเสนอที่ดีแก่เพื่อน และได้สรุปบทความที่เพื่อนนำเสนอร่วมกันกับนักศึกษา

เทคนิคการสอน       ใช้เทคนิคการสอนแบบถามตอบจะถามแบบปลายเปิดให้นักศึกษาได้คิดหาคำตอบ และเอาคำตอบมาเชื่อมโยงกัน เป็นอีกคำๆนึง หรือการคิดแบบเชื่อมโยง



วันพุธที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3



บันทึกอนุทินครั้งที่ 3
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  4 กันยายน  2557
เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
เวลาเข้าสอน08.30น.  เวลาเข้าเรียน 08.30น.  เวลาเลิกเรียน 12.20น.

      
      จากความรู้ที่ได้รับในวันนี้สามารถนำมาเขียนเป็น Mind map ได้ดังนี้




การนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้

  1. สามารถจัดกิจกรรมให้เด็กได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับพัฒนาการ
  2. สามารถนำหลักการและแนวคิดของนักทฤษฎีไปใช้ในการจัดกิจกรรมและใช้ในการเรียนกับวิชาอื่นๆ
  3. เข้าใจธรรมชาติและความอยากรู้อยากเห็นของเด็กปฐมวัยมากยิ่งขึ้น

การประเมิณการเรียนการสอน

                         ประเมิณตนเอง
                            
                              เข้าเรียนยังไม่ค่อยตรงเวลา  เข้าเรียน08.36 เข้าหลังอาจารย์ ,ตั้งใจเรียนและตอบคำถามที่อาจารย์ถามในชั้นเรียน , ตั้งใจจดบันทึกขณะอาจารย์อธิบาย

                         ประเมินเพื่อน

                 ตั้งใจฟังอาจารย์สอนและตอบคำถามระหว่างเรียน แต่ยังมีเพื่อนบางคนที่มาสาย

                         ประเมินอาจารย์

                             อาจารย์มอบความรู้ให้อย่างเต็มที่ และอธิบายรายละเอียดทุกหัวข้อที่สอน มีคำถามให้เราคิดต่อยอดจากคำตอบเสมอ อาจารย์ใส่ใจทุกรายละเอียดเกี่ยวกับงานของนักศึกษามากเพราะอาจารย์บอกว่าให้ดูของทุกคนจะได้รู้ว่าตรงไหนผิดตรงไหนถูกเพื่อที่จะได้นำไปปรับปรุงแก้ไขอย่างถูกต้อง


วันพฤหัสบดีที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 2


บันทึกอนุทินครั้งที่ 2
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 28 กันยายน  2557
เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
เวลาเข้าสอน08.30น.  เวลาเข้าเรียน 08.30น.  เวลาเลิกเรียน 12.20น.


           - ไม่ได้เข้าชั้นเรียน เนื่องจากไปสัมภาษณ์ กยส.
                        
                          ความรู้ที่ได้รับสามารถนำมาสรุปเป็นแผนผังความคิดได้ดังนี้


           - อ้างอิง จากนางสาวกมลพรรณ แสนจันทร์

บันทึกอนุทินครั้งที่ 1


บันทึกอนุทินครั้งที่ 1
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 21 สิงหาคม 2557
เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
เวลาเข้าสอน08.30น.  เวลาเข้าเรียน 08.30น.  เวลาเลิกเรียน 12.20น.

_____ไม่ได้เข้าชั้นเรียน____


อาจารย์ได้อธิบายแนวการสอน, ผลลัพธ์การเรียนรู้ แบ่งเป็น 6 ด้าน ได้แก่
-ด้านคุณธรรมจริยธรรม
-ด้านความรู้
-ด้านทักษะทางปัญญา
-ด้านทักษะความสามารถระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ
-ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
-ด้านการจัดการเรียนรู้


ข้อมูลในการบันทึกการเรียน ได้แก่ เนื้อหาที่เรียน และการนำไปประยุกต์ใช้


องค์ประกอบของบล็อก ซึ่งมีองค์ประกอบดังนี้
1. ชื่อ และคำอธิบายบล็อก
2. รูป และข้อมูลผู้เรียน
3. ปฏิทิน และนาฬิกา
4. เชื่อมโยงบล็อก
       - อาจารย์ผู้สอน
       -หน่วยงานสนับสนุน
       -แนวการสอน
       - งานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์
       - บทความ
       - เพลง
       - สื่อ(เพลง, เกม, นิทาน, แบบฝึกหัด, ของเล่น)
       - สถิติผู้เข้าชม
       - รายชื่อเพื่อน


             ให้นักศึกษาพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ


ความรู้ที่ได้รับสอบถามจากนางสาวกานดา ไชยพันนา