วันพุธที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15


บันทึกอนุทินครั้งที่ 15
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  27 พฤศจิกายน 2557
เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
เวลาเข้าสอน08.30น.  เวลาเข้าเรียน 08.30น.  เวลาเลิกเรียน 12.20น.

 ความรู้ที่ได้รับในการเรียน

การนำเสนองานวิจัย (Research Report)

-   มีกิจกรรม 20 ชุด หน่วยการเรียนรู้ 5 หน่วย
-   ทักษะทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ผ่านประสาทสัมผัส มี 4 ทักษะ
          - การสังเกต    (observation)
          - การจำแนก   (decomposition)
          - การวัด           (measurement)
          - มิติสัมพันธ์    (dimensions)
-   หน่วย สัตว์เลี้ยงแสนดี อุปกรณ์ แผ่นภาพอาหารของสัตว์ (animal)
          การจัดกิจกรรม
- ครูนำภาพมาให้เด็กดูแล้วถามเด็กว่า สัตว์ไม่ได้กินอาหารจะเป็นอย่างไร

2. งานวิจัยเรื่อง  ผลการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียนที่มีต่อทักษะการสังเกตของด็กปฐมวัย
-  ทักษะทางวิทยาศาสตร์    การสังเกต   การประมาณ   การเปลี่ยนแปลง
-   ครูแนะนำกิจกรรม ครูบอกเด็กว่าจะพาไปเที่ยวรอบโรงเรียนให้เด็กส่องสิ่งที่มองเห็น
-   ครูให้เด็กส่องดูผ่านแว่นแล้วมองดูผ่านตา
-   ครูให้เด็กวาดภาพ จากสิ่งที่มองเห็น
-  ครูใช้คำถาม เด็กมองเห็นวัตถุของจริง เด็กมองเห็นเป็นอย่างไร และเด็กมองผ่านแว่นเป็นอย่างไร
-  สรุปลงความเห็นการมองผ่านแว่นขยายและไม่ใช้แว่นขยาย

3. งานวิจัยเรื่อง การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
-  การคิดเชิงเหตุผล มีความจำเป็นต่อการดำรงชิวิตของมนุษย์และเป็นทักษะพื้นฐาน
-  เปิดโอกาสให้เด็กได้ทดลองโดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
-  การคิดเชิงเหตุผลมี 3 อย่างคือ
-  การจำแนกประเภท
-  การจัดประเภท
-  ด้านอนุกรม
-  หน่วยสนุกน้ำ
-  หน่วยอากาศแสนสนุก
-  หน่วยพืชน่ารู้
-  หน่วยพลังงานแสนกล
-  หน่วยเรียนรู้ธรรมชาติ
-  หน่วยฉันคือใคร

4. งานวิจัยเรื่อง ผลของกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ด้านการจำแนก

-  ทักษะทางวิทยาศาสตร์  การสังเกต การจำแนก การวัด การสื่อความหมาย  การลงความเห็น  มิติสัมพันธ์

การนำเสนอโทรทัศน์ครู

5.  จุดประกายนักวิทยาศาสตร์น้อย   เรื่อง เสียงมาจากไหน
7.   เรื่อง อนุบาล 3 เรียนวิทยาศาสตร์สนุก
8.   เรื่อง  ขวดปั้มและลิฟเทียน 
9.  เรื่อง  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
10. เรื่อง  สือแสงแสนสนุก
11.  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง สีของกะหล่ำปรี  
12.  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง พลังจิตคิดไม่ซื่อ
13.  นมสีจากน้ำยาล้างจานสำหรับเด็กปฐมวัย 
14.  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง ทะเลฟองสีรุ้ง
15.  สนุกวิทย์ คิดทดลอง ไข่ในน้ำ
16.  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง ทอนาโดมหาภัย
17.  บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เรื่อง  ความลับของใบบัว


สรุปความรู้ที่ได้จากการนำเสนองานวิจัย
  1. ได้รู้รูปแบบการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย
  2. เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
  3. นำไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กปฐมวัยได้จริง
  4. ได้แผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยที่หลากหลาย
  5. นำเรื่องที่ใกล้ตัวมาสอนเด็กได้
  6. เชื่อมโยงวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวัน ทำวิทยาศาสตร์ให้เป็นเรื่องง่ายสำหรับเด็ก

การนำไปประยุกต์ใช้
  1. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในวิชาอื่นๆ
  2. สามารนำกิจกรรมไปใช้กับเด็กปฐมวัยได้จริง
  3. นำเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กปฐมวัยผ่านกิจกรรมต่างๆ
  4. หากครูจะส่งเสริมพัฒนาการในด้านใดของเด็กสามารถนำกิจกรรมจากงานวิจัยมาจัดกิจกรรมสำหรับเด็กได้เลย
เทคนิควิธีการสอนของอาจารย์
  1. การค้นคว้าความรู้ด้วยตนเอง
  2. การใช้เทคโลโลยีเพื่อเป็นสื่อในการเรียนการสอน
  3. การใช้คำถามเพื่อให้เกิดกระบวนการคิด
  4. การขยายความหมายจากคำหรือประโยคที่เพื่อนนำเสนอเพื่อให้เข้าใจง่าย
การประเมินผล (Evaluation)
ประเมินตนเอง (Me)
- เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพเรียนร้อย ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 
ขณะเพื่อนนำเสนองานวิจัยก็ตั้งใจฟังและจดบันทึกเสมอ 

ประเมินเพื่อน ( friends)
- เพื่อนทุกคนเข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่มีบางคนอาจจะมาสายบ้าง เพื่อนที่นำเสนองานวิจัยก็ได้ตั้งใจ และเตรียมการนำเสนอมาเป็นอย่างดี ขณะเพื่อนนำเสนอเพื่อนในห้องก็ตั้งใจฟังและจดบันทึกเสมอ

ประเมินอาจารย์ (Tercher)
- อาจารย์เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักศึกษา ขณะเพื่อนนำเสนองานวิจัยอาจารย์ก็ได้ให้คำแนะนำและบอกคำสำคัญในชื่อเรื่องงานวิจัย เพื่อที่จะได้ค้นหาได้ง่ายขึ้น


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น