วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13



บันทึกอนุทินครั้งที่ 13
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  13 พฤศจิกายน 2557
เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
เวลาเข้าสอน08.30น.  เวลาเข้าเรียน 08.30น.  เวลาเลิกเรียน 12.20น.

 ความรู้ที่ได้รับในการเรียน

                         การเรียนในวันนี้เป็นการนำเสนองานวิจัย เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย มีผลงานวิจัยที่เพื่อนออกมานำเสนอต่อไปนี้
- เด็กขาดทักษะการสังเกต จากการตอบคำถาม จึงเกิดวิจัยเรื่องนี้ขึ้นมา
- ใช้เกมการศึกษา  
  1. จับคู่ภาพเหมือน
  2. จับคู่เงา
  3. เกมการสังเกต
  4. ภาพตัดต่อ
- สรุปจากการใช้เกมการศึกษา เด็กมีพัฒนาการการสังเกตดีขึ้น
    

-  เพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดทักษะทางวิทยาศาสตร์
-  ใช้กิจกรรมการทดลองหลังจากฟังนิทาน
    
เครื่องมือ
-  แผนการจัดกิจกรรม
-  แบบทดสอบ
   
           กิจกรรมหลังจากการเล่านิทาน เป็นกิจกรรมที่สอนในเรื่องเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ให้เด็กปฐมวัย เรื่องของนิทานก็จะเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เช่น วงกลมสีแดง ครูก็จะให้คำถามกับเด็ก และทำกิจกกรมการทดลองและการประดิษฐ์

         3. งานวิจัยเรื่อง  การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีทักษะ

-  ศึกษาเด็กปฐมวัยที่เรียนรู้แบบนักวิจัย
-  ศึกษาเด็กปฐมวัยที่เรียนรู้แบบนักวิจัยก่อนทดลองและหลังทดลอง
    สรุป   ระดับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยมีทักษะที่ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด

การจัดการเรียนแบบนักวิทยาศาสตร์

  1. ให้อิสระแก่เด็ก
  2. ให้เด็กค้นหา เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง
  3. ครูประเมินจากการสนทนาพูดคุยและประเมินจากผลงานของเด็ก
        
-  สอนในชั่วโมงเสริมประสบการณ์
-  สีที่ได้มาจากธรรมชาติ
-  สอนจากแผนการจัดประสบการณ์
-  ได้รับทักษะการสังเกต การจำแนก  มิติสัมพันธ์  การลงความเห็น

      5. งานวิจัยเรื่อง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรค์ที่มุ่งเน้นกระบวนการและปกติ

         มุ่งเน้นกระบวนการ
-   เปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติทุกขั้นตอนโดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 
-   เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมและการเตรียมอุปกรณ์ทุกขั้นตอน

          แบบปกติ
-   ครุจัดเตียมอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมเด็กมีหน้าที่ประดิษฐ์อย่างเดียว

         กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   
-   การสังเกต
-   การจำแนก
-   การวัดปริมาณ
-   มิติสัมพันธ์
-   การลงความเห็น


-  เด็กบอกลายละเอียดได้
-  การใช้เหตผล
-  การวิเคราะห์
-  คิดความเหมือนความต่าง
-  การสังเกต
-  เด็กเป็นผู้ทดลองเองลงมือปฏิบัติ,จำแนกความเหมือนต่างของวัสดุ
-  ให้เด็กได้ลงมือกระทำโดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
-  หลังจากการทดลองเด็กร่วมกันสรุปกิจกรรมโดยครูใช้คำถามเชื่อมโยง
     เช่น หน่วยน้ำ ใช้คำถาม น้ำเดินทางอย่างไร และ หน่วย ลมฟ้าอากาศ ใช้คำถาม อากาศมีน้ำหนักไหม

         7. งานวิจัยเรื่อง  การคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

เครื่องมือที่ใช้
  1. แผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
  2. แบบทดสอบ 4 แบบ มีรูปภาพเสมือนจริง
- หลังจากการทดลองครูให้เด็กทำแบบทดสอบ ผลปรากฎว่าหลังการทดลองเด็กมีความสามารถทางด้านความคิดอย่างมีเหตผลอย่างเห็นได้ชัด


สรุปความรู้ที่ได้จากการนำเสนองานวิจัย
  1. ได้รู้รูปแบบการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย
  2. เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรังเด็กปฐมวัย
  3. นำไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กปฐมวัยได้จริง
  4. แผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรังเด็กปฐมวัยที่หลากหลาย

การนำไปประยุกต์ใช้
  1. สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในวิชาอื่นๆ
  2. สามารนำกิจกรรมไปใช้กับเด็กปฐมวัยได้จริง
  3. นำเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กปฐมวัยผ่านกิจกรรมต่างๆ
  4. หากครูจะส่งเสริมพัฒนาการในด้านใดของเด็กสามารถนำกิจกรรมจากงานวิจัยมาจัดกิจกรรมสำหรับเด็กได้เลย
เทคนิควิธีการสอนของอาจารย์
  1. การค้นคว้าความรู้ด้วยตนเอง
  2. การใช้เทคโลโลยีเพื่อเป็นสื่อในการเรียนการสอน
  3. การใช้คำถามเพื่อให้เกิดกระบวนการคิด
  4. การขยายความหมายจากคำหรือประโยคที่เพื่อนนำเสนอเพื่อให้เข้าใจง่าย
การประเมินผล (Evaluation)
ประเมินตนเอง (Me)
- เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพเรียนร้อย ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 
ขณะเพื่อนนำเสนองานวิจัยก็ตั้งใจฟังและจดบันทึกเสมอ 

ประเมินเพื่อน ( friends)
- เพื่อนทุกคนเข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่มีบางคนอาจจะมาสายบ้าง เพื่อนที่นำเสนองานวิจัยก็ได้ตั้งใจ และเตรียมการนำเสนอมาเป็นอย่างดี ขณะเพื่อนนำเสนอเพื่อนในห้องก็ตั้งใจฟังและจดบันทึกเสมอ

ประเมินอาจารย์ (Tercher)
- อาจารย์เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักศึกษา ขณะเพื่อนนำเสนองานวิจัยอาจารย์ก็ได้ให้คำแนะนำและบอกคำสำคัญในชื่อเรื่องงานวิจัย เพื่อที่จะได้ค้นหาได้ง่ายขึ้น





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น