วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14


บันทึกอนุทินครั้งที่ 14
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  20 พฤศจิกายน 2557
เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
เวลาเข้าสอน08.30น.  เวลาเข้าเรียน 08.30น.  เวลาเลิกเรียน 12.20น.

 ความรู้ที่ได้รับในการเรียน

         การเรียนในวันนี้ก่อนนำเสนองานวิจัยมีกิจกรรมการแยกประเภทของสื่อการสอน และมี ประเภทดังนี้
  1. แรงลม (wind power)
  2. การหมุน (rotation)
  3. พลังงาน (energy)
  4. น้ำ (water)
  5. เสียง (sound)
  6. มุมเสริมประสบการณ์
การนำเสนองานวิจัย (Research Report)
  1. งานวิจัยเรื่อง การพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานผ่านกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
-  จัดโดยผ่านกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้คิด

        ทักษะทางวิทยาศาสตร์ที่เด็กจะได้รับจากกิจกรรม
-  การจำแนก
-  การวัด
-  มิติสัมพันธ์
-  การลงความเห็น
-  กางสังเกต
-  การสื่อสาร

      กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
  1. ศิลปะเลียนแบบ
  2. ศิลปะปรับภาพ
  3. ศิลปะบูรณาการ
  4. ศิลปะค้นหา
  5. ศิลปะภาพเหมือน
  6. ศิลปะย้ำ
2. งานวิจัยเรื่อง ผลการประกอบประสบการณ์วิทยาศาสตร์ที่มีต่อความสามารถมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย
3. งานวิจัยเรื่อง ผลของการจัดกิจกรรมด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้เพื่อพัฒนาทักษะการจำแนกของเด็กปฐมวัย

     -  จัดกิจกรรมเป็นหน่วยการเรียนรู้
ทักษะการจำแนก
       การจัดกลุ่มหาลำดับ เรียงลำดับ  การหามิติสัมพันธ์ สถานที่ต่างๆ สิ่่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก โดยมีเกณฑ์ความเหมือนความต่าง ใช้เครื่องมือวัด คือแบบการประเมินทักษะการจำแนก

4. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

ทักษะทางวิทยาศาสตร์
  1. การสังเกต
  2. การจำแนก
  3. การสื่อความหมาย
  4. มิติสัมพันธ์
-  จัดกิจกรรมเป็นหน่วยการเรียนรู้
-  ใช้กิจกรรมตามแผนการศึกษา

สรุปความรู้ที่ได้จากการนำเสนองานวิจัย
  1. ได้รับความรู้ใหม่ๆ ที่นอกเหนือจากที่อาจารย์สอน
  2. ได้รู้ทางวิทยาศาสตร์กิจกรรมที่หลากหลาย
  3. นำกิจกรรมหรือวิธีการทดลองจากงานวิจัยไปจัดกิจกรรมให้เด็กปฐมวัยได้จริง
  4. ได้รู้จักแผนการสอนที่หลากหลายและสามารถนำไปใช้กับเด็กปฐมวัยได้

กิจกรรมการทำวาฟเฟิล (Waffle)

อุปกรณ์ในการทำ
  1. แป้ง (flour)
  2. ไข่ (eggs)
  3. เนย (butter)
  4. เตา (stove) สำหรับทำ waffle
  5. ถ้วย (cup)
  6. จาน (plate)
  7. ช้อน (spoon)
  8. น้ำ (water)

ขั้นตอนการทำ
  1. แบ่งกลุ่มให้เท่าๆกัน
  2. ครูเตรียมอุปกรณ์ในการทำและแบ่งอุปกรณ์เป็นชุดๆ
  3. ขอตัวแทนมาหยิกอุปกรณ์ที่ครูเตรียมไว้
  4. ครูบอกขั้นตอนการทำ ถ้าเป็นเด็กปฐมวันก็ต้องสาธิตให้ดู


5.  ตอกใข่(eggs)และเนย(butter)ใส่ลงไปในถ้วยแล้วตีไข่(eggs)ให้เป็นเนื้อเดียวกัน



6.  เทแป้ง(flour)ใส่ลงไปแล้วค่อยตีให้เป็นเนื้อเดียวกัน เติมน้ำ(water)ตามความเหมาะสม


7. ตักใส่ถ้วย(stove)เล็กเพื่อนที่จะนำไปใส่เครื่องทำขนม


8. ทาเนย (butter)แล้วเทแป้งลงไปข้างละ 1 ถ้วย(cup) ถึง 1 ถ้วย(cup)ครึ่ง





 9. เมื่อถึงเวลาก็นำออกจากเครื่องใส่จาน (plate)แล้วทานได้เลย




การนำไปประยุกต์ใช้

  1. สามารถนำการจัดกิจกรรมในงานวิจัยไปจัดให้เด็กปฐมวัยได้จริง
  2. นำกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ในการเรียนวิชาอื่นๆ
  3. นำทักษะด้านต่างๆทางวิทยาศาสตร์ไปจัดกิจกรรมให้เด็กปฐมวัย
  4. จากกิจกรรมการทำ waffle สามารถนำไปจัดกิจกรรมให้เด็กได้ แต่ต้องสาธิตการทำให้เด็กดูและให้เด็กลงมือทำเอง และครูเป็นผู้ที่คอยดูแลอย่างใกล้ชิด
  5. กิจกรรมการทำ waffle ทำง่ายเด็กสามารถทำได้

เทคนิควิธีการสอนของอาจารย์
  1. การค้นคว้าความรู้ด้วยตนเอง
  2. การใช้เทคโลโลยีเป็นสื่อในการเรียนการสอน
  3. การใช้คำถามปลายเปิดเพื่อกระตุ้นให้เกิดกระบวนการคิด
  4. การอธิบายขยายความหมายของคำที่ชัดเจนและเข้าใจมากยิ่งขึ้น
  5. การสอนที่ให้ลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเอง

การประเมินผล (Evaluation)
ประเมินตนเอง (Me)
- เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพเรียนร้อย ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 
ขณะเพื่อนนำเสนองานวิจัยก็ตั้งใจฟังและจดบันทึกเสมอ  กิจกรรมการทำwaffle ก็ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมและเมื่อทำเสร็จก็เก็บอุปกรณ์เข้าที่อย่างเรียนร้อย

ประเมินเพื่อน ( friends)
- เพื่อนทุกคนเข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่มีบางคนอาจจะมาสายบ้าง เพื่อนที่นำเสนองานวิจัยก็ได้ตั้งใจ และเตรียมการนำเสนอมาเป็นอย่างดี ขณะเพื่อนนำเสนอเพื่อนในห้องก็ตั้งใจฟังและจดบันทึกเสมอ 
ขณะทำwaffleเพื่อนก็ตั้งใจทำมาก ทุกคนตื่นเต้น พร้อมที่จะกินwaffle ฝีมือตัวเอง

ประเมินอาจารย์ (Tercher)
- อาจารย์เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักศึกษา ขณะเพื่อนนำเสนองานวิจัยอาจารย์ก็ได้ให้คำแนะนำและบอกคำสำคัญในชื่อเรื่องงานวิจัย เพื่อที่จะได้ค้นหาได้ง่ายขึ้น มีกิจกรรมที่หลายหลายมาให้นักศึกษาทำเพื่อที่จะกระตุ้นให้นักศึกษาไม่เบื่อ ขณะเรียนให้ใช้คำถามเสมอ ขณะทำwaffleอาจารย์ก็คอยให้คำแนะนำอยู่เสมอ



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น